วันอาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2555
การใช้เครื่อง Motion capture ในเมืองไทย
การทดสอบเครื่องและโปรแกรมทดสอบระบบการส่งข้อมูล Motion Capture ไปยังตัวละคร Low Polygon for Game ของสาขาคอมพิวเตอร์เกมมัลติมีเดีย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต
วันพุธที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
โครงการออกแบบแบ่งปันแอนิเมชั่น ให้กับทรูปลูกปัญญา
หลังจากที่สร้างสรรค์ผลงานโครงการออกแบบภาพเคลื่อนไหวส่วนบุคคลตามโครงการ Object Learning Animate Design Project เสร็จแล้ว ให้นักศึกษาแบ่งปันผลงานให้แก่เว็บไซต์ทรูปลูกปัญญา www.trueplookpanya.com โดยการสมัครเป็นสมาชิกแล้วนำคลิปไฟล์ที่ตัดต่อเสร็จสมบูรณ์แล้วโดยบันทึกไฟล์เป็นชนิด .wmv, .mp4 หรือ .swf ให้ตรวจความถูกต้องการสะกดคำและเนื้อเรื่องย่อ คำอธิบาย Upload ขึ้นไว้ เพื่อให้ทางทรูพิจารณานำไปใช้เป็นชิ้นเรียน(Object Learning) โดยทำตามขั้นตอนที่อาจารย์ได้แนะนำไว้นี้ หรือดูไฟล์ภาพที่อาจารย์แชร์ให้ในGdocs แล้ว
คลิกเข้าดูผลงานที่สำเร็จและแบ่งปันให้แก่ทรูปลูกปัญญาและได้รับการตรวจ-อนุมัติแล้ว
1.ผลงานของ มนนิสา รุ่งปัจฉิม กลุ่มเรียน201 3/2554 สื่อแอนิเมชั่นสำหรับหมวดวิชาภาษาต่างประเทศ เรื่องการนับเลข Spelling Number
2.ผลงานของ วีนัส อ่ำสุ่น สื่อแอนิเมชั่น 2มิติ หมวดวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องน้ำ ตอน ฝน
คลิกเข้าดูผลงานที่สำเร็จและแบ่งปันให้แก่ทรูปลูกปัญญาและได้รับการตรวจ-อนุมัติแล้ว
1.ผลงานของ มนนิสา รุ่งปัจฉิม กลุ่มเรียน201 3/2554 สื่อแอนิเมชั่นสำหรับหมวดวิชาภาษาต่างประเทศ เรื่องการนับเลข Spelling Number
2.ผลงานของ วีนัส อ่ำสุ่น สื่อแอนิเมชั่น 2มิติ หมวดวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องน้ำ ตอน ฝน
วันพฤหัสบดีที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2555
การใช้กล้องจับภาพการเคลื่อนไหวและสร้างเคลื่อนไหว ด้วยเครื่องมือและโปรแกรมสร้าง :Motion Capture and MotionBuilder
ดูวิดีโอเบื้องหลังการทำงานการใช้กล้อง การตั้งเครื่องมือและโปรแกรมระบบจับภาพการเคลื่อนไหวของร่างกายเช่น การจับจุดกล้ามเนื้อเฉพาะจุด เช่นการกรอกตา การขยับริมฝีปาก จุดเชื่อมแกนกระดูก(Bone) การแสดงอารมณ์ต่างๆของตัวละครดิจิตัลให้สมดั่งมีชีวิตจริง ในวิดีโอแรกนี้เป็นการตั้งเครื่องมือโดยใช้กล้อง 8 ตัว ระบบของ Vicon system และโปรแกรม Blade software แล้วนำเข้าไปเขียนโครงสร้างหรือตัวละครทับด้วยโปรแกรม 3มิติ เช่น ของ Autodesk MotionBuilder เป็นโปรแกรมควบคุมการเคลื่อนไหว มุมกล้อง มุมมองและการกำกับตัวละครตามที่เขียนบทภาพไว้ จากนั้นจึงนำเข้าไปตัดต่อในโปรแกรมใช้ในงานตัดต่องานภาพยนตร์และหรือเข้าสู่ขั้นตอน Post Production อื่นๆต่อไป
วันอังคารที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2555
การนำเสนอผลการดำเนินงานขั้น ส.1 การสืบค้น และการวางแนการผลิตแอนิเมชั่น Learning Object for Kid's i-tab ในขั้นตอน Pre-Production
การนำเสนอผลการดำเนินงานขั้น ส.1 การสืบค้น และการวางแนการผลิตแอนิเมชั่น Learning Object for Kid's i-tab ในขั้นตอน Pre-Production ชั่วโมงเรียนครั้งที่ 7 ด้วยสื่อ Mood board กลุ่มเรียน 201 ภาคสมทบ มีผู้นำเสนอเพียงแค่ 2 คน จากผู้ลงทะเบียนเรียน จำนวนทั้งสิ้น 23 คน. คิดเป็นเพียง 1 % ของความเอาใจใส่ในการทำกิจกรรมการบ้าน อาจารย์ก็จัดให้เต็ม...ทุกท่านแล้วนะครับ ก็ได้ตามเกณฑ์และตามกรรมที่ก่อไว้
วันอาทิตย์ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2555
นิตยสารเกี่ยวกับงานแอนิเมชั่น ฟรีออนไลน์ของ Animation Magazine ฉบับเดือน February ปี 2007
Animation Magazine is a monthly publication covering the animation industry, including aspects of film and television animation, visual effects and video games. เชิญคลิกเข้าอ่านนิตยสารเกี่ยวกับงานแอนิเมชั่น ฟรีออนไลน์ของนิตยสาร Animation Magazine ฉบับย่อ ย้อนหลังของเดือน February ปี 2007 จำนวน 92 หน้า
วันพุธที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2555
About Animation สัปดาห์ที่1-2summer
ภาพเคลือนไหวคืออะไร : สร้างความเข้าใจพื้นฐานก่อนการเรียนรู้
ประวัติการออกแบบภาพเคลื่อนไหว
ก่อนเรียนวิชาแอนิเมชั่น ก็ควรต้องพยายาม ดู-ฟัง-สรุป หากฟังไม่ออก(อาจเพราะไ่ม่เปิดเสียง) แต่ตาก็ดูได้ว่าอะไรคืออะไร ดูแล้วรู้สึกว่าขาดอะไร ก็หมายถึงว่าเราได้อะไรไปมั่งแล้ว หากอยากรู้เพิ่มเติมก็ต้องเข้าชั้นเรียนจึงจะได้ชื่อว่าเป็นนักเรียน-นักศึกษา และต่อเสาะหาสืบหาอย่างต่อเนื่อง เข้าอ่านเนื้อหาดูว่า Animation Type ประเภทของแอนิเมชั่นมาตรฐานทั่วไปนั้นมีกี่อย่าง ได้ที่ http://www.isuuu.com/groups/animationdesign http://sites.google.com/site/arti3322/animation-types ลองอ่าน แปล หาเครื่องมือช่วยแปล อย่ากลัวภาษาอังกฤษ ลองซะก่อนครับ เริ่มจดเพื่อให้จำก่อน เขียนออกมา การเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษก็เป็นการฝึกเช่นกัน ประเทศของเราประกาศแล้วว่าต้องร่วมมือและเข้าสู่แวดวงสังคมเศรษฐิกจอาเซี่ยน ภายในปี 2558 นี้ นักศึกษาเองก็ต้องเตรียมตัวเช่นกัน การเริ่มต้นก็หมือนกับการฝึกวาดเขียนเช่นกัน นับแต่ต้องเรียนรู้การดูการมองเห็น นั่นก็คือการอ่าน การอ่านก็ต้องรู้จักองค์ประกอบของภาษาหรือที่เรียกว่าหลักไวยากรณ์เเหมือนวิชาศิลปะและการออกแบบเช่นกัน หากไม่จับเครื่องมือมาขีดเขียนก่อนตามที่คิดแล้ว จะบังเกิดผลงานให้ปรากฏว่าได้คิดแล้วมาสร้างสรรค์อย่างไร จงเริ่มต้นศึกษาและวิเคราะห์ในสิ่งที่ต้องเรียนรู้ หันหน้าเข้าสู้และอยู่ในแวดวงของผู้รู้นับแต่นี้ หากดูแล้วเมินหน้าหนี แล้วก็คงจะต้องหนีไปเรื่อยๆ แล้วจะจบการศึกษาเมื่อไหร่ละครับ ทุกคนที่เรียน summer คงทราบสถานภาพของตนเองดีอยู่แล้ว ตั้งใจและใส่ใจนะครับ ไม่เข้าใจก็จดบันทึกไว้แล้วไปถามอาจารย์ในชั้นเรียน และไปสมัคร(Subscribe) เป็นสมาชิกกลุ่ม http://www.isuuu.com/groups/animationdesign เพื่อเตรียมส่งแสดง สรุปผลงานให้โลกได้ร่วมรู้ว่าได้เรียน รู้ มีผลงานแสดงไว้เป็นโปรไฟล์เยี่ยงใดบ้าง
ประวัติการออกแบบภาพเคลื่อนไหว
ก่อนเรียนวิชาแอนิเมชั่น ก็ควรต้องพยายาม ดู-ฟัง-สรุป หากฟังไม่ออก(อาจเพราะไ่ม่เปิดเสียง) แต่ตาก็ดูได้ว่าอะไรคืออะไร ดูแล้วรู้สึกว่าขาดอะไร ก็หมายถึงว่าเราได้อะไรไปมั่งแล้ว หากอยากรู้เพิ่มเติมก็ต้องเข้าชั้นเรียนจึงจะได้ชื่อว่าเป็นนักเรียน-นักศึกษา และต่อเสาะหาสืบหาอย่างต่อเนื่อง เข้าอ่านเนื้อหาดูว่า Animation Type ประเภทของแอนิเมชั่นมาตรฐานทั่วไปนั้นมีกี่อย่าง ได้ที่ http://www.isuuu.com/groups/animationdesign http://sites.google.com/site/arti3322/animation-types ลองอ่าน แปล หาเครื่องมือช่วยแปล อย่ากลัวภาษาอังกฤษ ลองซะก่อนครับ เริ่มจดเพื่อให้จำก่อน เขียนออกมา การเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษก็เป็นการฝึกเช่นกัน ประเทศของเราประกาศแล้วว่าต้องร่วมมือและเข้าสู่แวดวงสังคมเศรษฐิกจอาเซี่ยน ภายในปี 2558 นี้ นักศึกษาเองก็ต้องเตรียมตัวเช่นกัน การเริ่มต้นก็หมือนกับการฝึกวาดเขียนเช่นกัน นับแต่ต้องเรียนรู้การดูการมองเห็น นั่นก็คือการอ่าน การอ่านก็ต้องรู้จักองค์ประกอบของภาษาหรือที่เรียกว่าหลักไวยากรณ์เเหมือนวิชาศิลปะและการออกแบบเช่นกัน หากไม่จับเครื่องมือมาขีดเขียนก่อนตามที่คิดแล้ว จะบังเกิดผลงานให้ปรากฏว่าได้คิดแล้วมาสร้างสรรค์อย่างไร จงเริ่มต้นศึกษาและวิเคราะห์ในสิ่งที่ต้องเรียนรู้ หันหน้าเข้าสู้และอยู่ในแวดวงของผู้รู้นับแต่นี้ หากดูแล้วเมินหน้าหนี แล้วก็คงจะต้องหนีไปเรื่อยๆ แล้วจะจบการศึกษาเมื่อไหร่ละครับ ทุกคนที่เรียน summer คงทราบสถานภาพของตนเองดีอยู่แล้ว ตั้งใจและใส่ใจนะครับ ไม่เข้าใจก็จดบันทึกไว้แล้วไปถามอาจารย์ในชั้นเรียน และไปสมัคร(Subscribe) เป็นสมาชิกกลุ่ม http://www.isuuu.com/groups/animationdesign เพื่อเตรียมส่งแสดง สรุปผลงานให้โลกได้ร่วมรู้ว่าได้เรียน รู้ มีผลงานแสดงไว้เป็นโปรไฟล์เยี่ยงใดบ้าง
วันอังคารที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2555
สรุปผลการเรียนวิชาการออกแบบภาพเคลื่อนไหว ภาคเรียนที่ 2/2554
สรุปผลการเรียนวิชาการออกแบบภาพเคลื่อนไหว ภาคเรียนที่ 2/2554
กราฟแสดงค่าความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนของ ผศ.ประชิด ทิณบุตร ประจำภาคเรียนที่ 2/2554
ที่มา:http://www.surveycan.com/report/collect?sn=f6c03885-2673-475c-89d6-dfc3bcc9e211
From การนำเสนอผลงานออกแบบตัวละคร ในวิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว |
From การนำเสนอผลงานออกแบบตัวละคร ในวิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว |
ที่มา:http://www.surveycan.com/report/collect?sn=f6c03885-2673-475c-89d6-dfc3bcc9e211
วันพฤหัสบดีที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2555
ผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานการเรียนรู้วิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหวของนักศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 2-2554
จากกิจกรรมหัวข้อการเรียนรู้เรื่องการออกแบบตัวละคร (Character Design ) ซึ่งเป็นโครงงานออกแบบส่วนบุคคลปลายภาคเรียน(Final Individual Design Project) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสสร้างสรรค์ สื่อ แสดงออกซึ่งทักษะและการบูรณาการองค์ความรู้ที่ได้เรียนมาตลอดภาคเรียน อัันจะเป็นผลงานที่ต้องสร้าง-สะสมเป็นแฟ้มผลงานของตนเอง โดยให้นักศึกษาได้ปรพสบการตรง โดยให้ส่งผลงานเข้าร่วมประกวด Mascot ในงาน "การนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2555" ( Thailand Research Expo 2012 )ซึ่งจะจัดงานเป็นประจำระดับชาติในทุกปี ในช่วงระหว่าง 24-28 สิงหาคมนี้
ซึ่งผลการคัดเลือกรอบแรก มีผลงานของนักศึกษาเข้าสู่รอบ 3 ชิ้น จากทั้งหมด 6 ชิ้นงาน ชื่อน้องสบู่ดำ ของนายอานนท์ น้องแก้มลิง ของนาย อิศราวุธ และผลงานชื่อ เจ้าลิงน้อย ของนางสาวพิชญาภรณ์ ซึ่งต้องรอผลโหวตและคะแนนรอบสุดท้ายในเร็ววันนี้ สามารถโหวตและติดตามผลได้ที่ เว็บไซต์ประชาสัมพันธ์การจัดงานวิจัยของสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ
ซึ่งผลการคัดเลือกรอบแรก มีผลงานของนักศึกษาเข้าสู่รอบ 3 ชิ้น จากทั้งหมด 6 ชิ้นงาน ชื่อน้องสบู่ดำ ของนายอานนท์ น้องแก้มลิง ของนาย อิศราวุธ และผลงานชื่อ เจ้าลิงน้อย ของนางสาวพิชญาภรณ์ ซึ่งต้องรอผลโหวตและคะแนนรอบสุดท้ายในเร็ววันนี้ สามารถโหวตและติดตามผลได้ที่ เว็บไซต์ประชาสัมพันธ์การจัดงานวิจัยของสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ
วันเสาร์ที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2555
Animation Design Groups : แหล่งเรียนรู้ สรุปและแสดงผลงานที่เกิดจากการเรียนรู้ของนักศึกษาที่เรียนวิชา การออกแบบภาพเคลื่อนไหว
Animation Design Groups : แหล่งเรียนรู้
สรุปและแสดงผลงานที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และคุณลักษณะอาชีพ (มคอ.) ของนักศึกษาที่เรียนวิชาการออกแบบภาพเคลื่อนไหว สอนโดย ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กทม. Portal of Learning Achievement
Presentation for Fine and Applied Arts Division Students ,Chandrakasem
Rajabhat University,Bangkok Thailand. Instructor : Assistant Professor
Prachid Tinnabutr., Reference Site URL:
http://animatedesign.blogspot.com
วันอาทิตย์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2555
การนำเสนอผลงานโครงการออกแบบส่วนบุคคลวิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหว การออกแบบตัวละคร
การนำเสนอผลงานผลงานวิชาออกแบบภาพเคลื่อนไหวชิ้นสุดท้าย ในวันอังคารที่ 6 มีนาคมนี้
เริ่มเวลา กลุ่มเช้า 9.00 น.เรียงลำดับชื่อจากสุดท้ายขึ้นมาต้น บ่ายเริ่ม 13.15 เรียงตามลำดับชื่อท้ายเช่นกัน ก่อนการนำเสนอ ต้องมีผลงานที่ทำสำเร็จพร้อมนำเสนอตามนี้คือ
1.ภาคเอกสารนำเสนอตามขั้นตอน 32 ส./โดยส่งรายงานใน googledocs/ส่งต้นแบบCharacter ที่ออกแบบ เป็นไฟล์.ai หรืออื่นๆที่ทำจริงโดยจัดเก็บไว้ในโฟลเดอร์ที่แชร์ให้แล้ว
2.ส่งไฟล์ pdf ที่ย่อสรุปผลงานทั้งหมดขึ้นแสดงที่ issuu.com/groups/animationdesign
3.ผลงานสำเร็จคือต้นแบบ Character บน mood board/มี story board animation และ วิธีการสร้างสรรค์แอนิเมชั่น ด้วยเทคนิควิธี-โปรแกรมที่เลือกใช้ตามที่ถนัด ซึ่งภาพเคลื่อนไหวนั้นต้องมีส่วนประกอบครบทั้งส่วนนำ(Title) ส่วนเรื่อง(Movie)และหน้าเครดิต(End Credit)
4.นำเสนอด้วย pdf /Mood board /ฺBlog และโชว์ผลงาน animation แนะนำตัว character(Mascot) ความยาวไม่น้อยกว่า 2 นาที ที่ Youtube.com ช่องของแต่ละคนที่สร้างขึ้นเพื่อเรียนรู้และเผยแพร่ผลงานจริง
โดยนักศึกษาต้องมีการสำรองไฟล์แบบออฟไลน์ จัดเก็บไว้ให้พร้อมนำเสนอเผื่อเอาไว้ด้วย
ใช้เวลานำเสนอไม่เกินคนละ 10 นาที ให้เตรียมพร้อมเผื่อเวลา หากมาไม่ทันก็หมดสิทธิ์นำเ้สนอ เมื่อเรียกแล้วไม่พร้อมก็หมายถึงไม่ขอรับการประเมินผลงาน
สำหรับการสอบปลายภาคเรียน จะสอบท้ายชั่วโมงหรือหลังจากเสร็จการนำเสนอ ใช้เวลา 30 นาที ที่ระบบโดคีออส กรุณาตรวจสอบสิทธิ์และทดสอบการใช้งานระบบ และเข้าศึกษาเนื้อหาวิชา ก่อนล่วงหน้าที่ http://chandraonline.chandra.ac.th/dokeos
คำเตือน : โปรดตรวจดูคะแนนเก็บของคุณได้แล้ววันนี้
เริ่มเวลา กลุ่มเช้า 9.00 น.เรียงลำดับชื่อจากสุดท้ายขึ้นมาต้น บ่ายเริ่ม 13.15 เรียงตามลำดับชื่อท้ายเช่นกัน ก่อนการนำเสนอ ต้องมีผลงานที่ทำสำเร็จพร้อมนำเสนอตามนี้คือ
1.ภาคเอกสารนำเสนอตามขั้นตอน 32 ส./โดยส่งรายงานใน googledocs/ส่งต้นแบบCharacter ที่ออกแบบ เป็นไฟล์.ai หรืออื่นๆที่ทำจริงโดยจัดเก็บไว้ในโฟลเดอร์ที่แชร์ให้แล้ว
2.ส่งไฟล์ pdf ที่ย่อสรุปผลงานทั้งหมดขึ้นแสดงที่ issuu.com/groups/animationdesign
3.ผลงานสำเร็จคือต้นแบบ Character บน mood board/มี story board animation และ วิธีการสร้างสรรค์แอนิเมชั่น ด้วยเทคนิควิธี-โปรแกรมที่เลือกใช้ตามที่ถนัด ซึ่งภาพเคลื่อนไหวนั้นต้องมีส่วนประกอบครบทั้งส่วนนำ(Title) ส่วนเรื่อง(Movie)และหน้าเครดิต(End Credit)
4.นำเสนอด้วย pdf /Mood board /ฺBlog และโชว์ผลงาน animation แนะนำตัว character(Mascot) ความยาวไม่น้อยกว่า 2 นาที ที่ Youtube.com ช่องของแต่ละคนที่สร้างขึ้นเพื่อเรียนรู้และเผยแพร่ผลงานจริง
โดยนักศึกษาต้องมีการสำรองไฟล์แบบออฟไลน์ จัดเก็บไว้ให้พร้อมนำเสนอเผื่อเอาไว้ด้วย
ใช้เวลานำเสนอไม่เกินคนละ 10 นาที ให้เตรียมพร้อมเผื่อเวลา หากมาไม่ทันก็หมดสิทธิ์นำเ้สนอ เมื่อเรียกแล้วไม่พร้อมก็หมายถึงไม่ขอรับการประเมินผลงาน
สำหรับการสอบปลายภาคเรียน จะสอบท้ายชั่วโมงหรือหลังจากเสร็จการนำเสนอ ใช้เวลา 30 นาที ที่ระบบโดคีออส กรุณาตรวจสอบสิทธิ์และทดสอบการใช้งานระบบ และเข้าศึกษาเนื้อหาวิชา ก่อนล่วงหน้าที่ http://chandraonline.chandra.ac.th/dokeos
คำเตือน : โปรดตรวจดูคะแนนเก็บของคุณได้แล้ววันนี้
วันพุธที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
ผลงานออกแบบภาพเคลื่อนไหวของกลุ่มเรียนในวืชาart13322 ภาคเรียนที่2-2554 เผยแพร่ผ่าน Youtube.com
ผลงานเรียนกิจกรรมกลุ่มDesign Work-Based Learning ชื่อผลงาน the tree ของกลุ่ม 5 star
ผลงานเรียนกิจกรรมกลุ่มแบบ Design Work-Based Learning ชื่อผลงาน big eye in the sky ของกลุ่ม chick
ผลงานเรียนกิจกรรมกลุ่มแบบ Design Work-Based Learning ชื่อผลงานเรื่อง Ant and Ants กลุ่ม Tiny Four
ผลงานเรียนกิจกรรมกลุ่มแบบ Design Work-Based Learning ชื่อผลงานเรื่อง Water Of Life กลุ่ม Fall
ผลงานเรียนกิจกรรมกลุ่มแบบ Design Work-Based Learning ชื่อผลงานเรื่อง Seed Recovery World กลุ่ม Number 4.
ผลงานเรียนกิจกรรมกลุ่มแบบ Design Work-Based Learning ชื่อผลงานเรื่อง Learn to Fly กลุ่ม 2-101
ผลงานเรียนกิจกรรมกลุ่มแบบ Design Work-Based Learning ชื่อผลงานเรื่องThe frog กลุ่ม aopaop
สรุปผลงานส่งเข้าประกวด adobe awards ไม่ได้เพราะคุณภาพและความสมบูรณ์ยังไม่ดีพอและหมดเวลาส่ง จึงไม่จัดส่งให้ื แต่สิ่งที่ผู้เรียนได้รับก็คือความรู้และประสบการณ์ในการทำงานแบบกลุ่มโดยตรงและแบบออนไลน์ ในเวลาเรียนตามกำหนดเกือบ 2 เดือน และจะประเมินผลกิจกรรมนี้จากเสียงของผู้วิพากษ์ใน Youtube สรุปผลปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2555 นี้ ซึ่งยังคงมีเวลาปรับแก้ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นแม้จะหมดโอกาสส่งไปร่วมประกวดก็ตาม งานนี้ก็โดนลบเกรดไป ก็เพราะความที่ขาดความรับผิดชอบและการตรวจสอบผลงานร่วมกันนั่นเอง ซึ่งทุกคนที่ร่วมงานกันก็ทงทราบกันดีว่า ใครเป็นเหาฉลามกันบ้าง สำหรับกลุ่มที่ไม่ได้นำเสนอผลงาน ไม่เข้าชั้นเรียนก็คงพบกันใหม่ในปีหน้า รับรองจัดหนักดับเบิ้ล...คับแก้วครับ รับรองไม่ผิดหวัง
Animation design Issuu Groups : แหล่งเรียนรู้ สรุปและเผยแพร่ผลงานและผลสัมฤทธิ์แห่งการเรียนรู้ ในรายวิชาการออกแบบภาพเคลื่อนไหว สอนโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม Portal of Learning
Achievement Presentation for Fine and Applied Arts Division Students
,Chandrakasem Rajabhat University,Bangkok Thailand . Instructor: Assistant Professor Prachid Tinnabutr
หมายเหตุ การส่งเล่มรายงานสรุปต้องตั้งชื่อไฟล์-ตามด้วยรหัสวิชา บันทึกเป็นไฟล์.pdf แล้วคลิก +add something เพื่อ upload ไฟล์เข้าส่งในเข้าและปรากฏเล่มอยู่ใน library ของกลุ่มนี้แล้ว จึงจะถือว่าส่งงานสรุปสำเร็จเสร็จสิ้นแล้ว
หมายเหตุ การส่งเล่มรายงานสรุปต้องตั้งชื่อไฟล์-ตามด้วยรหัสวิชา บันทึกเป็นไฟล์.pdf แล้วคลิก +add something เพื่อ upload ไฟล์เข้าส่งในเข้าและปรากฏเล่มอยู่ใน library ของกลุ่มนี้แล้ว จึงจะถือว่าส่งงานสรุปสำเร็จเสร็จสิ้นแล้ว
วันจันทร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
ฟรีแมกกาซีนออนไลน์ นิตยสารแนะนำความรู้เทคนิควิธีการใช้งานโปรแกรมฟรีโอเพ่นซอร์สเบลนเดอร์
ฟรีแมกกาซีนออนไลน์ นิตยสารแนะนำความรู้เทคนิควิธีการใช้งานโปรแกรมฟรีโอเพ่นซอร์ส เบลนเดอร์ (Blender) เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานด้านกราฟิกอาร์ต ด้านการออกแบบสร้างตัวละคร และเทคนิคการสร้างภาพเป็นภาพยนต์แอนิเมชั่น ได้ทั้งแบบ 2-3 มิติ มีไฟล์ให้ดาวน์โหลดเก็บได้ด้วย
Open publication - Free publishing
วันเสาร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
การนำเสนอผลงานแอนิเมชั่นกลุ่ม
แจ้งเรื่องการนำเสนองานแอนิเมชั่นในสัปดาห์ที่ 13
กลุ่มไหนเสร็จแล้วให้เริ่มเผยแพร่ก่อนได้เลยนะครับ ทดสอบก่อนนำเสนอเผยแพร่ทางยูทุบ และแต่ละกลุ่มต้องนำเสนอขั้นสรุปด้วย Mood board, Paper, presentation, Youtube และที่ Issuu กลุ่มละ 15 นาที สมาชิกต้องอยู่ครบเพื่อชี้แจงผลงานที่ได้ทำและมีส่วนร่วมในกลุ่ม เริ่มนำเสนอตามลำดับกลุ่ม จาก 1 ถึงกลุ่มสุดท้าย หลังจากการรายงานข่าวสาร
งานที่สมบูรณ์ควรต้องส่งมอบอาจารย์ก่อนรายงานและนำเสนอครั้งนี้คือ
1.เล่มรายงานของกลุ่มและของแต่ละคน ตามแผนงานและสตอรี่บอร์ดกลุ่ม 10 แต้ม
2.บันทึกต้นฉบับไฟล์งานทุกอย่างลงแผ่นซีดี-ดีวีดี ให้ครบทุกคน 10 แต้ม
3.แสดงผลงานของกลุ่มที่เผยแพร่ใน Youtube/yourchanel และ ที่ Issuu.com/groups/animationdesign 10 แต้ม
4. ควรนำเสนอด้วยไฟล์สไลด์ Presentaion online รวมอยู่ในไฟล์และฟอร์แมตเดียวกันตามลำดับการนำเสนอและภาระงานของแต่ละคน
5.ผลงานแอนิเมชั่นที่สมบูรณ์จะต้องมีส่วนประกอบคือ
5.1.Introduction/Title:ส่วนนำ/ชื่อเรื่อง
5.2.Story/Content/Multimedia:เนื้อหาเรื่องราวของภาพเคลื่อนไหวที่มีอรรถรสของความเป็นภาพยนต์ครบตามแนวเรื่อง
5.3. End Credit และต้องมีภาพสมาชิกครบทุกคน
และเวลาต้อง 3 นาทีขึ้นไป
กลุ่มไหนเสร็จแล้วให้เริ่มเผยแพร่ก่อนได้เลยนะครับ ทดสอบก่อนนำเสนอเผยแพร่ทางยูทุบ และแต่ละกลุ่มต้องนำเสนอขั้นสรุปด้วย Mood board, Paper, presentation, Youtube และที่ Issuu กลุ่มละ 15 นาที สมาชิกต้องอยู่ครบเพื่อชี้แจงผลงานที่ได้ทำและมีส่วนร่วมในกลุ่ม เริ่มนำเสนอตามลำดับกลุ่ม จาก 1 ถึงกลุ่มสุดท้าย หลังจากการรายงานข่าวสาร
งานที่สมบูรณ์ควรต้องส่งมอบอาจารย์ก่อนรายงานและนำเสนอครั้งนี้คือ
1.เล่มรายงานของกลุ่มและของแต่ละคน ตามแผนงานและสตอรี่บอร์ดกลุ่ม 10 แต้ม
2.บันทึกต้นฉบับไฟล์งานทุกอย่างลงแผ่นซีดี-ดีวีดี ให้ครบทุกคน 10 แต้ม
3.แสดงผลงานของกลุ่มที่เผยแพร่ใน Youtube/yourchanel และ ที่ Issuu.com/groups/animationdesign 10 แต้ม
4. ควรนำเสนอด้วยไฟล์สไลด์ Presentaion online รวมอยู่ในไฟล์และฟอร์แมตเดียวกันตามลำดับการนำเสนอและภาระงานของแต่ละคน
5.ผลงานแอนิเมชั่นที่สมบูรณ์จะต้องมีส่วนประกอบคือ
5.1.Introduction/Title:ส่วนนำ/ชื่อเรื่อง
5.2.Story/Content/Multimedia:เนื้อหาเรื่องราวของภาพเคลื่อนไหวที่มีอรรถรสของความเป็นภาพยนต์ครบตามแนวเรื่อง
5.3. End Credit และต้องมีภาพสมาชิกครบทุกคน
และเวลาต้อง 3 นาทีขึ้นไป
วันอาทิตย์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
Character Design
Character design is among the most important aspects of creating an animated film. Appealing design can provide one more way for the audience to identify with and grow to like your characters. When animating, good design can augment your characters’ performance; a well designed model will always pose better. However, design is such a subjective pursuit that it is impossible to define in certain terms what is “appealing”; we are, in the end, left only with our opinion and a sense of what we respond to. Perhaps the best thing to do is try to lay out some general principles that we should all consider when designing characters.
Readmore
วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2555
Computer Generated Imagery (CGI) Animation
CGI Animation : Definition and Techniques
By Parul Solanki
A subset of the broad field of animation, CGI or computer-generated imagery, can be defined as the use of computers for creating moving images. Using certain 3D animation software tools like Maya, 3ds Max or Blender, the first step of CGI animation, involves creating a 'wire frame' or a geometric model of the object. Now, the surface appearance of the object has to be determined. This involves providing color, texture, reflectivity and transparency to the objects in question, with the help of tools known as 'shaders'. The final step in the animation process, involves the computer rendering of the entire scene. This involves the calculation of the color of the pixels in the scene, which determines the shading, texture mapping, reflection, refraction and photo-realistic rendering. This may sound simple, but given the millions of pixels in a high definition scene, providing the realistic animal movements, skin, hair and fur, is still quite a complex task. Not to mention the problems areas of introducing features like liquids, gases and complex surfaces, like the texture of the face and the clothing.
A simpler method of adding movement to the objects, is by duplicating an image, displayed on the computer screen and repeatedly replacing this new image, that is similar to the previous image, but slightly advanced in the time domain. Thus, using persistence of vision, the illusion of smooth movement is provided by drawing the pictures at 12 fps (frames per second). In a computer generated image, this is achieved by changing the values of the segments of the skeletal model over time, making the character move from frame to frame. There are several methods for achieving that realistic motion, such as keyframing to motion capture.
Impact of CGI Animation
Cheaper than most of the other animation methods, like construction of miniatures or the use of actors or other contributors to the project, CGI animation is increasingly being used for producing high quality visual effects and realistic images. The accessibility to the CGI software tools, in the recent years, has enabled individual artists and small production units to come up with content without the use of actors, expensive set pieces, or props. While 2D CGI was first used in 1973, in the movie Westworld, it has been increasingly used over the years, in popular movies like The Jurassic Park and the Star Wars series. It was in the year 1995, that the first fully computer-generated feature film, Toy Story was released.
The Future of CGI Animation
Technological change is an inevitable part of life, and therein lies the uncertain future of CGI animation. Although people have increasingly taken to the animated bugs, monsters and animals, it is the creation of a photorealistic animation of humans, that remains out of reach for CGI animators. To replicate the complex human emotions and movements as a 3D animation, remains the goal for all animators. However, complete human realism, where there is no distinguishing between a particular movie sequence that is computer-generated or created using real actors in front of movie cameras, seems an unachievable dream. However with the rapid development of the personal computers, that has reduced their rendering time quite significantly, and the images having become more realistic, CGI animation is here to stay, it seems.
By Parul Solanki
A subset of the broad field of animation, CGI or computer-generated imagery, can be defined as the use of computers for creating moving images. Using certain 3D animation software tools like Maya, 3ds Max or Blender, the first step of CGI animation, involves creating a 'wire frame' or a geometric model of the object. Now, the surface appearance of the object has to be determined. This involves providing color, texture, reflectivity and transparency to the objects in question, with the help of tools known as 'shaders'. The final step in the animation process, involves the computer rendering of the entire scene. This involves the calculation of the color of the pixels in the scene, which determines the shading, texture mapping, reflection, refraction and photo-realistic rendering. This may sound simple, but given the millions of pixels in a high definition scene, providing the realistic animal movements, skin, hair and fur, is still quite a complex task. Not to mention the problems areas of introducing features like liquids, gases and complex surfaces, like the texture of the face and the clothing.
A simpler method of adding movement to the objects, is by duplicating an image, displayed on the computer screen and repeatedly replacing this new image, that is similar to the previous image, but slightly advanced in the time domain. Thus, using persistence of vision, the illusion of smooth movement is provided by drawing the pictures at 12 fps (frames per second). In a computer generated image, this is achieved by changing the values of the segments of the skeletal model over time, making the character move from frame to frame. There are several methods for achieving that realistic motion, such as keyframing to motion capture.
Impact of CGI Animation
Cheaper than most of the other animation methods, like construction of miniatures or the use of actors or other contributors to the project, CGI animation is increasingly being used for producing high quality visual effects and realistic images. The accessibility to the CGI software tools, in the recent years, has enabled individual artists and small production units to come up with content without the use of actors, expensive set pieces, or props. While 2D CGI was first used in 1973, in the movie Westworld, it has been increasingly used over the years, in popular movies like The Jurassic Park and the Star Wars series. It was in the year 1995, that the first fully computer-generated feature film, Toy Story was released.
The Future of CGI Animation
Technological change is an inevitable part of life, and therein lies the uncertain future of CGI animation. Although people have increasingly taken to the animated bugs, monsters and animals, it is the creation of a photorealistic animation of humans, that remains out of reach for CGI animators. To replicate the complex human emotions and movements as a 3D animation, remains the goal for all animators. However, complete human realism, where there is no distinguishing between a particular movie sequence that is computer-generated or created using real actors in front of movie cameras, seems an unachievable dream. However with the rapid development of the personal computers, that has reduced their rendering time quite significantly, and the images having become more realistic, CGI animation is here to stay, it seems.
Basic Types of Animation
Basic Types of Animation
By Vaishali Satwase
Basic Types of Animation
The basic types of animation are the primary keynote for animation effect. The 3 basic types of animation are cel, stop and computer animation.
Cel Animation
Cel animation refers to the traditional way of animation in a set of hand drawings. In this process of animation, various pictures are created which are slightly different but progressive in nature, to depict certain actions. Trace these drawings on a transparent sheet. This transparent sheet is known as cel and is a medium for drawing frames. Now draw outlines for the images and color them on the back of the cel. The cel is an effective technique that helps to save time by combining characters and backgrounds. You can also put the previous drawings over other backgrounds or cels whenever required. Here, you need not draw the same picture again as it has the facility of saving previous animations that can be used when required. Coloring a background may be a more difficult task than a single drawing, as it covers the whole picture. Background requires shading and lighting and will be viewed for a longer duration. Then use your camera to photograph these drawings. Today, cel animations are made more attractive by using the drawings together with music, matching sound effects and association of timing for each effect. E.g. To display a cartoon show, 10-12 frames are played in rapid succession per second to give a representation of movement in a cel animation.
Stop Animation
Stop animation or stop motion animation is a technique to make objects move on their own. Here, a few images are drawn with some different positions and photographed separately. Puppetry is the one of the most used frame-to-frame animation types. Some famous movies that are animated via stop animation effects are King Kong, The Dinosaur and the Missing Link, The Curse of the Were-Rabbit and and The Lost World.
Computer Animation
Computer Animation is the latest technique of animation that includes 2D and 3D animation. These animations not only enhance the hand-drawn characters but also make them appear real as compared to the above mentioned animations.
2D Animation: It is used through Powerpoint and Flash animations. Though its features are similar to cel animation, 2D animation has become popular due to simple application of scanned drawings into the computer like in a cartoon film.
3D Animation: It is used in film making where we require unusual objects or characters that are not easy to display. Use of 3D animation can create a crowd of people in a disaster like earthquake, flood or war. There are different shapes, support of mathematical codes, display of actions and colors which are mind-blowing as if copied from an actual picture.
The above mentioned 3 basic types of animation have brought a new era of amazing technology in the field of Internet (website design and graphics), film industry and media. In addition, animation is the one of the popular Internet marketing strategies that make visitors stay on your site for a longer time.
Read more at : http://www.buzzle.com/articles/basic-types-of-animation.html
By Vaishali Satwase
Basic Types of Animation
The basic types of animation are the primary keynote for animation effect. The 3 basic types of animation are cel, stop and computer animation.
Cel Animation
Cel animation refers to the traditional way of animation in a set of hand drawings. In this process of animation, various pictures are created which are slightly different but progressive in nature, to depict certain actions. Trace these drawings on a transparent sheet. This transparent sheet is known as cel and is a medium for drawing frames. Now draw outlines for the images and color them on the back of the cel. The cel is an effective technique that helps to save time by combining characters and backgrounds. You can also put the previous drawings over other backgrounds or cels whenever required. Here, you need not draw the same picture again as it has the facility of saving previous animations that can be used when required. Coloring a background may be a more difficult task than a single drawing, as it covers the whole picture. Background requires shading and lighting and will be viewed for a longer duration. Then use your camera to photograph these drawings. Today, cel animations are made more attractive by using the drawings together with music, matching sound effects and association of timing for each effect. E.g. To display a cartoon show, 10-12 frames are played in rapid succession per second to give a representation of movement in a cel animation.
Stop Animation
Stop animation or stop motion animation is a technique to make objects move on their own. Here, a few images are drawn with some different positions and photographed separately. Puppetry is the one of the most used frame-to-frame animation types. Some famous movies that are animated via stop animation effects are King Kong, The Dinosaur and the Missing Link, The Curse of the Were-Rabbit and and The Lost World.
Computer Animation
Computer Animation is the latest technique of animation that includes 2D and 3D animation. These animations not only enhance the hand-drawn characters but also make them appear real as compared to the above mentioned animations.
2D Animation: It is used through Powerpoint and Flash animations. Though its features are similar to cel animation, 2D animation has become popular due to simple application of scanned drawings into the computer like in a cartoon film.
3D Animation: It is used in film making where we require unusual objects or characters that are not easy to display. Use of 3D animation can create a crowd of people in a disaster like earthquake, flood or war. There are different shapes, support of mathematical codes, display of actions and colors which are mind-blowing as if copied from an actual picture.
The above mentioned 3 basic types of animation have brought a new era of amazing technology in the field of Internet (website design and graphics), film industry and media. In addition, animation is the one of the popular Internet marketing strategies that make visitors stay on your site for a longer time.
Read more at : http://www.buzzle.com/articles/basic-types-of-animation.html
วันเสาร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2555
What is STORYBOARDS ? สตอรี่บอร์ดคืออะไร
STORYBOARDS
An artist’s rendering in pencil or pen (usually black-and-white, rarely in color) onto a series of panels to approximate what the composition, angle, and movement within the frame will be for each shot of animation.The storyboard shows what the visual sequence of the entire episode or movie will be. Dialogue and sound effects from the script are placed beneath the shots where the dialogue and sound should occur.The storyboard is used as the guide for all further artwork and production in creating that piece of animation, as well as providing an early indication of whether the script is too long or too short.(Marx,Christy ,2007)
หมายถึงแผ่นป้ายหรือแผนภาพที่เขียนเรียบเรียงขึ้นอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นเครื่องมือในการใช้วางแผนจัดการแสดง ใช้สื่อสาร ใช้เป็นเครื่องมือในการบอกเล่าถึงการวางแผนจัดกระทำ การบริหารจัดการสิ่งต่างๆที่เกี่ยวข้องในงาน การลำดับเหตุการณ์ของ ภาพ ฉาก อุปกรณ์ ตัวละครที่เกี่ยวกับเรื่องราวที่จะดำเนินการสร้างสรรค์เป็นผลงาน มนการที่จะต้องมีการสร้าง บันทึก จัดเก็บและจะนำเสนอ เป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว การจัดการกำกับเหตุการณ์ในเวลาจริง หรือเป็นการบันทึกลงสื่อดิจิตัลรูปแบบต่างๆ สตอรี่บอร์ดจึงเป็นผลงานที่รู้จักกันดีคือเป็นชิ้นงานที่ใช้ในการถ่ายทำภาพยนตร์หรือการนั่นเอง ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะเป็นหน้าที่ของช่างศิลป์หรือนักสร้างภาพประกอบที่ต้องขีดเขียนขึ้นด้วยการอาศัยทักษะฝีมือทางการวาดภาพ และสร้างภาพจากเนื้อหาเรื่องราวแต่ละฉากแต่ละตอน ออกมาให้ปรากฏก่อนเกิดการดำเนินการสร้างจริง เป็นการสรุปย่อและวางแผนการกำกับทุกสรรพสิ่งที่จะเกี่ยวข้องในการถ่ายทำนั่นเอง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)